สร้างเว็บEngine by iGetWeb.com
Cart รายการสินค้า (0)

ภูมิคุ้มกันสังคมบกพร่อง เนื้อร้ายเกาะกิน เด็ก-เยาวชน

จาก โพสต์ทูเดย์

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

ความร่วมมือระหว่างภาคีต่างๆ เพื่อสร้างระบบกลไกเชิงยุทธศาสตร์ล้อมคอกปัญหาจึงมีให้เห็นอยู่อย่างหลาก หลาย ล่าสุดคือกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) กับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ (สสส.)

ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัต์ ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ เปิดสถานการณ์ทางสังคมว่า ความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วทำให้เด็กและเยาวชนเผชิญกับวิกฤต 6 ด้านสำคัญ คือ 1.ความรุนแรงในเด็ก ซึ่งข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ระบุว่ามีผู้ถูกทำร้ายปีละกว่า 9,000 คน แบ่งเป็นจากคู่รัก-แฟน 4,509 คน คิดเป็น 54% เพื่อน 2,086 คน หรือ 25% 2.การบริโภคสื่อและเทคโนโลยีที่ไม่สร้างสรรค์ พบ ว่าเด็กใช้เวลาอยู่กับสื่อเฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อวัน โดยเฉพาะกับเกมอินเทอร์เน็ต 3 – 5 ชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว่า 50% ของ 40 เว็บไซด์ยอดนิยมของคนไทยมีเนื้อหาทางเพศที่ไม่เหมาะสม

3.ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัย ซึ่งนำมาสู่การตั้งครรภ์ การทำแท้ง และการติดเชื้อเอดส์ พบว่าระหว่างปี 2544 – 2552 มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นจาก 10% เป็น 40% ขณะที่ช่วงอายุของผู้ตั้งครรภ์มีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ ทั้งนี้องค์การยูนิเซฟระบุรายงานแม่วัยรุ่นไทยที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ว่ามีถึง 1.5 แสนคน

4.ปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาเสพติด เพราะถึงแม้ว่าสถานการณ์ภาพรวมของการบริโภคจะลดลง แต่ตัวเลขในเด็กและเยาวชนกลับเพิ่มขึ้น โดยแต่ละปีมีนักดื่มหน้าใหม่เกิดขึ้นถึง 2.6 แสนราย 5.ปัญหาอุบัติเหตุและปรากฏการณ์รถซิ่ง จำนวนเด็กและเยาวชนที่เสียชีวิตในปี 2552 เฉลี่ย 10 รายต่อวัน 6.ปัญหาทางด้านอารมณ์และจิตใจ เด็กขาดการโอบอุ้มจากสังคม เกิดเป็นพฤติกรรมซึมเศร้าและทำร้ายตัวเองมากขึ้น

นอกจากนี้ยังมีสถานการณ์ปัญหาครอบครัวที่น่าเป็นห่วง โดยอันดับ 1.คือการหย่าร้างเพิ่มขึ้น โดยในปี 2550 มีอัตราสูงถึง 1 ใน 3 ของผู้จดทะเบียนสมรส 2.ความรุนแรงในครอบครัว 3.สัมพันธภาพของคนในครอบครัวที่ลดน้อยลง ส่วนใน กลุ่มคนที่ต้องการดูแลเป็นพิเศษและกลุ่มเฉพาะ พบเด็กและผู้สูงอายุเข้าสถานสงเคราะห์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการ ทำงานของหน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวน

โดย...ธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียน

ปรากฏการณ์ทารก 2,002 ซาก ได้ฉายภาพความชำรุดของพลวัตทางสังคมจนหลายฝ่ายต้องกลับมาครุ่นคิด และถึงแม้ว่าท้ายที่สุดแล้วปัญหาต่างๆ จะเคลื่อนเข้าสู่จุดสมดุลได้ด้วยตัวเองก็ตาม แต่คำถามคือจะมีใครทนได้จนถึงเวลานั้นบ้างหรือไม่

ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นคืออาการชินชาต่อความเลวร้ายได้ซึมลึกลงในสามัญ สำนึกของสังคมแล้ว วิกฤตการณ์อันน่าหวาดหวั่นมักถูกมองผ่าน เพียงเพราะคนในสังคมเกิดรู้สึกร่วมกันว่าเป็นสิ่งปกติ นั่นจึงเป็นเรื่องยากหากจะปล่อยให้สังคมปรับตัวเข้าหาจุดสมดุลเอง

“วิกฤตเหล่านี้จะปล่อยให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งดูแลเป็นการเฉพาะไม่ได้ จำเป็นต้องมีความร่วมมือจากหลายหน่วยงานเพื่อร่วมกันอย่างจริงจัง”คือที่มา ของความร่วมมือระหว่าง สสส. กับ พม. ตามที่ ทพ.กฤษดาระบุ

พนิตา กำภู ณ อยุธยา ปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มองปัญหาที่เกิดขึ้นว่า คงปล่อยให้สังคมปฏิรูปตัวเองไม่ได้แล้ว ดังนั้นคนจึงต้องเป็นตัวกลางในการปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้ ที่สำคัญทิศทางในการขับการทำงานจะต้องเป็นระบบและเห็นเป็นรูปธรรม

ความร่วมมือระหว่าง 2 หน่วยงาน ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ 1.ความร่วมมือระดับกระทรวง ในการส่งเสริมโครงการและกิจกรรมและเปลี่ยนความรู้ระดับผู้บริหาร 2.ความร่วมมือส่วนราชการระดับกรม เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น รวมถึงกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ 3.ความร่วมมือระดับพื้นที่ เป็นผู้นำข้อตกลงจากระดับกรมลงไปปฏิบัติในพื้นที่ ทั้งองค์กรปกครองท้องถิ่นและชุมชน 4.ความร่วมมือในการจัดให้มีคณะกรรมการ สำหรับวางแนวทางและประสานการดำเนินงานร่วมกัน

สมชาย เจริญอำนวยสุข ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ เชื่อว่า กลไกการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนคือการให้ดึงให้เขาเข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุด โดยได้วางเป้าหมายการทำงานด้วยการตั้งสภาเด็กและเยาวชนในทุกระดับ ตั้งแต่จังหวัด อำเภอ จนถึงตำบล เพื่อสร้างความเข้มแข็งและขับเคลื่อนนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เบื้องต้นจะนำร่องใน 5 จังหวัด และคาดว่าภายใน 3 ปี จะเกิดได้ทั่วประเทศ

  ปัญหาเรื้อรังของสังคมไทยคงจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการทำงานของ หน่วยงานเพียง 2 หน่วยงาน แต่ความร่วมมือในครั้งนี้นับเป็นโมเดลที่ทำให้ภาคีอื่นๆ ได้หันกลับมาทบทวนปัญหา และริเริ่มหาทางออกให้กับสังคมนี้

ปัญญา เลิศไกร รองผู้อำนวยการสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว บอกว่า แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านครอบครัวคือการทำงานผ่านคณะกรรมการด้านครอบครัวและ ท้องถิ่น โดยมีเป้าหมาย 1.พัฒนาศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนให้ครบวงจร โดยจะเริ่มต้น 300 ศูนย์ทั่วประเทศในปีนี้ และจะขยายผลใน 5 ปี หน้าที่หลักคือการให้คำปรึกษาปัญหาครอบครัว ลดการหย่าร้าง 2.ตั้งศูนย์การจัดการความรู้เพื่อสุขภาวะครอบครัว

พุฒิพัฒน์ เลิศเชาวสิทธิ์ รองอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ อธิบายถึงการแก้ปัญหาในกลุ่มผู้มีความต้องการพิเศษว่า ได้ตั้งคณะทำงานขึ้นเพื่อดำเนินงานใน 2 เป้าหมาย คือ 1.กลุ่มอาสาสมัคร เพื่อให้เกิดความหลากหลายทั้งอาชีพและสถานภาพทางสังคม 2.การแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น โดยจะสร้างรูปแบบการทดลองที่เรียกว่าโมเดลเครือข่าย หรือกลุ่มทางเลือกที่มีปัญหา เช่น เด็กถูกละเมิด สุขภาวะทางเพศ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เด็กติดเชื้อเอดส์ ซึ่งต้องมีระบบเชื่อมโยงและมีหน่วยงานรับรอง

Tags : ภูมิคุ้มกันสังคมบกพร่อง เนื้อร้ายเกาะกิน เด็กเยาวชน

view